วันจันทร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ต่อ ครับ แต่ยังไม่หมด ครั้งที่ 9.1
3.เลือกระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เลือกโปรแกรมที่จะพัฒนา ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาระบบมีหลายเทคโนโลยี เช่น Lotus Notes, Web (เช่น เขียนโปรแกรม PHP, ASP, DotNet, etc. ไม่ต้องตกใจนะครับว่ามันคืออะไร ในขั้นตอนนี้เราสามารถใช้ หรือแผนก IT ของบริษัทช่วยได้ แต่ต้องทำขั้นตอนที่ 1 กับ 2 ให้เรียบร้อยเสียก่อน โดยการเลือกระบบต้องดูที่ Environment ของบริษัทว่าใช้ระบบอะไรอยู่ เช่นถ้าบริษัทไหนใช้ระบบ Lotus Notes ก็จะต้องมี User ID ในการเข้าระบบด้วย แต่ผมแนะนำให้ทำบน Web ดีกว่า4.ทำระบบ คุณอาจจะเลือกได้โดยใช้ Outsource, Mfatix Software House (http://www.mfatix.com/), IT Department, Student Trainee, Programmer Freelance หรืออื่นๆ (อย่าลืมเรื่อง Budget ก่อนการทำ e-Workflow)
วันเสาร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2552
e-Workflow ครั้งที่ 9
e-Workflow คืออะไรคือ การใช้ระบบสารสนเทศมาช่วยในการทำให้ระบบการอนุมัติเอกสารต่างๆ มีประสิทธิภาพมากขึ้น
การจัดทำระบบ e-Workflow
1.ต้องเลือกงานที่จะนำมาทำ e-Workflow ในงาน HR นั้น มีงานเอกสารมากมาย อาทิเช่น แบบฟอร์มการขอออกไปฝึกอบรม, แบบฟอร์มการเลื่อนตำแหน่งงาน, แบบฟอร์มการลางาน และอื่นๆ อีกมากมาย ต้องเลือก Flow ที่มีผลกระทบต่อองค์การที่สุดก่อน จะได้ช่วยลดงานได้มาก
2.ศึกษาสายงานที่จะต้องอนุมัติและขั้นตอนการส่งแบบฟอร์ม เราต้องศึกษาเอกสารที่จะนำมาทำเป็น e-Workflow ว่ามีลำดับขั้นตอนการอนุมัติเป็นอย่างไร จะส่งเอกสารให้ใครก่อน เขียน Flow การอนุมัติตั้งแต่ต้นจนจบ ศึกษาระบบในสั้นที่สุดและดีที่สุด คิดถึงผลเมื่อการอนุมัติเสร็จสิ้นจะนำเอาข้อมูลไปเก็บไว้ที่ใด ข้อมูลต่างๆ ที่จะต้องเก็บข้อมูลไว้มีอะไรบ้างเช่น ต้องเก็บ ชื่อ, ที่อยู่, เบอร์ติดต่อ (ออกแบบ Database)
(ยังมีอีก คับ )
การจัดทำระบบ e-Workflow
1.ต้องเลือกงานที่จะนำมาทำ e-Workflow ในงาน HR นั้น มีงานเอกสารมากมาย อาทิเช่น แบบฟอร์มการขอออกไปฝึกอบรม, แบบฟอร์มการเลื่อนตำแหน่งงาน, แบบฟอร์มการลางาน และอื่นๆ อีกมากมาย ต้องเลือก Flow ที่มีผลกระทบต่อองค์การที่สุดก่อน จะได้ช่วยลดงานได้มาก
2.ศึกษาสายงานที่จะต้องอนุมัติและขั้นตอนการส่งแบบฟอร์ม เราต้องศึกษาเอกสารที่จะนำมาทำเป็น e-Workflow ว่ามีลำดับขั้นตอนการอนุมัติเป็นอย่างไร จะส่งเอกสารให้ใครก่อน เขียน Flow การอนุมัติตั้งแต่ต้นจนจบ ศึกษาระบบในสั้นที่สุดและดีที่สุด คิดถึงผลเมื่อการอนุมัติเสร็จสิ้นจะนำเอาข้อมูลไปเก็บไว้ที่ใด ข้อมูลต่างๆ ที่จะต้องเก็บข้อมูลไว้มีอะไรบ้างเช่น ต้องเก็บ ชื่อ, ที่อยู่, เบอร์ติดต่อ (ออกแบบ Database)
(ยังมีอีก คับ )
วันพฤหัสบดีที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ต่อ จากวันที่ 21 ครับ ผมมม ครั้งที่ 8.2
ตามกระบวนการ บางครั้งเราจะไม่ทราบว่าตอนนี้กระบวนการดำเนินการไปถึงไหน บางครั้งกระบวนการ อาจจะหยุดชะงักโดยไม่ทราบสาเหตุ เมื่อติดตามอาจจะต้องใช้เวลาในการติดตาม แต่เมื่อเรานำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้ทราบว่าตอนนี้นั้นกระบวนการได้ดำเนินการไปถึงใครหรือหน่วยงานไหน เมื่อเกิดการล่าช้าหรือหยุดชะงัก ก็สามารถที่จะติดตามในจุดที่หยุดชะงักได้ทันทีการให้บริการต่าง ๆ ในองค์กร จะทำได้รวดเร็ว โดยเฉพาะองค์กรทางธุรกิจที่จะต้องแข่งขันกับเวลา การนำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้ขั้นตอนต่าง ๆ รวดเร็วขึ้น การให้บริการต่าง ๆ ก็จะรวดเร็ว
วันจันทร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ต่อจาก วันที 20/12 ครับ ครั้งที่ 8.1
โดยจะมีลำดับในการดำเนินการตามการบริหารงานขององค์กร เช่น การลาในองค์กร ๆ หนึ่ง อาจจะมีแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้1) บุคลากรต้องเขียนใบลา2) ส่งต่อขออนุมัติผู้บังคับบัญชาหน่วยงาน3) ผู้บังคับบัญชาส่งให้ผู้บริหารที่สูงกว่าอนุมัติ
4) ใบลา ส่งต่อไปยังฝ่ายบุคคลในกรณีที่อนุมัติเรียบร้อยขั้นตอนต่าง ๆ ที่ยกขึ้นมากล่าวจะเป็นการลา ซึ่งจะทำให้เห็นภาพมากขึ้นในเรื่องของWorkflow ซึ่งกระบวนการลาที่ได้กล่าวนั้นอาจจะถูกออกมาเป็นกฎ ระเบียบขององค์กร เมื่อบุคลากรต้องการจะลา การติดตามงานต่าง ๆ สามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว จากเดิมถ้าเราดำเนินการต่างๆ ( ยังไม่หมดนะครับ ขอเวลาอีก 1-2 วัน จะมาเพิ่มให้นะครับ )
4) ใบลา ส่งต่อไปยังฝ่ายบุคคลในกรณีที่อนุมัติเรียบร้อยขั้นตอนต่าง ๆ ที่ยกขึ้นมากล่าวจะเป็นการลา ซึ่งจะทำให้เห็นภาพมากขึ้นในเรื่องของWorkflow ซึ่งกระบวนการลาที่ได้กล่าวนั้นอาจจะถูกออกมาเป็นกฎ ระเบียบขององค์กร เมื่อบุคลากรต้องการจะลา การติดตามงานต่าง ๆ สามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว จากเดิมถ้าเราดำเนินการต่างๆ ( ยังไม่หมดนะครับ ขอเวลาอีก 1-2 วัน จะมาเพิ่มให้นะครับ )
วันอาทิตย์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2552
การนำ Workflow มาใช้งานในองค์การ ครั้งที่ 8
การนำ Workflow มาใช้งานในองค์การ องค์กรต่าง ๆ ได้พยายามที่จะนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้งานในระบบการไหลเวียนงานในองค์กรของตน เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดตามงานต่าง ๆ การนำเอาระบบ Workflow มาใช้งานในองค์กรจะทำให้การทำงานต่างๆ สามารถที่จะติดตามและประเมินผลได้เร็วมากขึ้น โดยธรรมชาติของหน่วยงานต่างๆกระบวนการทำงานและความต้องการไม่เหมือนกัน ตัว Workflow จะเป็นตัวช่วยสร้างรูปแบบของกระบวนการที่บ่งบอกถึงขั้นตอน กฎ ความเกี่ยวข้อง ขอบเขตการรับผิดชอบของผู้กระทำ ในกระบวนการการทำงานในหน่วยงานต่างๆ ในองค์กร จะมีกระบวนการการทำงานของตนเอง และอาจจะมีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นๆ ในองค์กร ซึ่งแล้วแต่การแบ่งองค์กรและการทำงาน โดยใช้กระบวนการ การทำงานของ Workflow จะประกอบไปด้วย แนวทาง กฎ ระเบีบบ ข้อบังคับในการทำงานกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงาน (ยังมีต่อนะครับ โปรดติดตามกันต่อไป )
วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ประโยชน์ของการนำเอาระบบ Workflow มาใช้ในองค์กร ครั้งที่ 7
ประโยชน์ขององค์กรเมื่อมีการนำเอาระบบ Workflow มาใช้ในองค์กร พอสรุปได้ดังนี้
1. ลดการใช้ทรัพยากร การนำเอาระบบ Workflow มาใช้จะช่วยลดกระดาษ จากเดิมที่มีการใช้กระดาษในการดำเนินกิจกรรม เมื่อนำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้การใช้กระดาษจะลดน้อยลง นอกจากนี้ยังจะลดเวลาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในกระบวนการลงจากเดิมที่เป็นอยู่
2. การติดตามงานต่าง ๆ สามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว จากเดิมถ้าเราดำเนินการต่างๆ ตามกระบวนการ บางครั้งเราจะไม่ทราบว่าตอนนี้กระบวนการดำเนินการไปถึงไหน บางครั้งกระบวนการ อาจจะหยุดชะงักโดยไม่ทราบสาเหตุ เมื่อติดตามอาจจะต้องใช้เวลาในการติดตาม แต่เมื่อเรานำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้ทราบว่าตอนนี้นั้นกระบวนการได้ดำเนินการไปถึงใคร หรือหน่วยงานไหน เมื่อเกิดการล่าช้าหรือหยุดชะงัก ก็สามารถที่จะติดตามในจุดที่หยุดชะงักได้ทันที
3. การให้บริการต่าง ๆ ในองค์กร จะทำได้รวดเร็ว โดยเฉพาะองค์กรทางธุรกิจที่จะต้องแข่งขันกับเวลา การนำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้ขั้นตอนต่าง ๆ รวดเร็วขึ้น การให้บริการต่าง
1. ลดการใช้ทรัพยากร การนำเอาระบบ Workflow มาใช้จะช่วยลดกระดาษ จากเดิมที่มีการใช้กระดาษในการดำเนินกิจกรรม เมื่อนำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้การใช้กระดาษจะลดน้อยลง นอกจากนี้ยังจะลดเวลาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในกระบวนการลงจากเดิมที่เป็นอยู่
2. การติดตามงานต่าง ๆ สามารถดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว จากเดิมถ้าเราดำเนินการต่างๆ ตามกระบวนการ บางครั้งเราจะไม่ทราบว่าตอนนี้กระบวนการดำเนินการไปถึงไหน บางครั้งกระบวนการ อาจจะหยุดชะงักโดยไม่ทราบสาเหตุ เมื่อติดตามอาจจะต้องใช้เวลาในการติดตาม แต่เมื่อเรานำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้ทราบว่าตอนนี้นั้นกระบวนการได้ดำเนินการไปถึงใคร หรือหน่วยงานไหน เมื่อเกิดการล่าช้าหรือหยุดชะงัก ก็สามารถที่จะติดตามในจุดที่หยุดชะงักได้ทันที
3. การให้บริการต่าง ๆ ในองค์กร จะทำได้รวดเร็ว โดยเฉพาะองค์กรทางธุรกิจที่จะต้องแข่งขันกับเวลา การนำเอาระบบ Workflow มาใช้จะทำให้ขั้นตอนต่าง ๆ รวดเร็วขึ้น การให้บริการต่าง
แนวทางในการเลือกใช้โปรแกรม Workflow ครั้งที่ 6
ถ้าเราจะเลือกโปรแกรม ที่สามารถใช้เป็น Workflow มาใช้ในองค์กร เราควรจะพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ เพื่อที่จะเลือกโปรแกรมที่เหมาะสมกับองค์กรของเรา
1. ความสามารถที่จะนำมาใช้ได้ตรงกับ Workflow ในองค์กร หรือสามารถที่จะพัฒนาเพิ่มเติมตามที่ต้องการ
2. ระบบความปลอดภัย เป็นเรื่องที่สำคัญมากในเรื่องของระบบ Workflow โดยโปรแกรมที่พบนั้นจะมีระบบการป้องกันอยู่ 2 แบบดังนี้
2.1 ระบบความปลอดภัยในระดับระบบปฏิบัติการ นั่นก็คือโปรแกรม Workflow ตัวนี้ การกำหนดสิทธิต่าง ๆ ในกิจกรรม ของผู้ใช้ไปผูกติดกับระบบปฏิบัติการ ซึ่งถ้าระบบปฏิบัติการที่ใช้มีจุดอ่อนในเรื่องของการให้สิทธิ ก็จะทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการใช้งาน
2.2 ระบบความปลอดภัยในโปรแกรม โปรแกรมที่นำมาใช้เป็น Workflow บางตัว จะมีการกำหนดสิทธิต่าง ๆ ในตัวของโปรแกรม ต่างหาก โดยบางตัวสามารถกำหนดสิทธิมาก บางตัวกำหนดได้แค่บางส่วน
1. ความสามารถที่จะนำมาใช้ได้ตรงกับ Workflow ในองค์กร หรือสามารถที่จะพัฒนาเพิ่มเติมตามที่ต้องการ
2. ระบบความปลอดภัย เป็นเรื่องที่สำคัญมากในเรื่องของระบบ Workflow โดยโปรแกรมที่พบนั้นจะมีระบบการป้องกันอยู่ 2 แบบดังนี้
2.1 ระบบความปลอดภัยในระดับระบบปฏิบัติการ นั่นก็คือโปรแกรม Workflow ตัวนี้ การกำหนดสิทธิต่าง ๆ ในกิจกรรม ของผู้ใช้ไปผูกติดกับระบบปฏิบัติการ ซึ่งถ้าระบบปฏิบัติการที่ใช้มีจุดอ่อนในเรื่องของการให้สิทธิ ก็จะทำให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการใช้งาน
2.2 ระบบความปลอดภัยในโปรแกรม โปรแกรมที่นำมาใช้เป็น Workflow บางตัว จะมีการกำหนดสิทธิต่าง ๆ ในตัวของโปรแกรม ต่างหาก โดยบางตัวสามารถกำหนดสิทธิมาก บางตัวกำหนดได้แค่บางส่วน
3. การใช้งานจะต้องง่าย และไม่ซับซ้อน
ครั้งที่ 5
โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือซอฟต์แวร์ Workflow ที่จะนำมาใช้ในองค์กร ปัจจุบันนี้มีอยู่มาก แต่พอจะแบ่งออกเป็นประเภทหลัก ๆ ได้ 2 ประเภท
1. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อใช้ในองค์กรเอง
1. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาเพื่อใช้ในองค์กรเอง
2. ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มีอยู่ในตลาด และสามารถนำมาใช้งานได้ทันที หรือสามารถที่จะนำมาพัฒนาให้เกิดเป็นระบบงานของตนเอง
ครั้งที่ 4 (ต่อ)
2. เรื่องของกฎระเบียบการอนุมัติที่ต้องใช้ลายเซ็นต์ผู้บริหาร สำหรับองค์กรที่เป็นราชการจะประสบปัญหาในเรื่องนี้มาก เพราะมีกฏระเบียบในเรื่องของเอกสาร การนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ก็จะไม่ครบกระบวนการ นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่องเกี่ยวกับลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์ ยังไม่มีในประเทศไทยทำให้การยอมรับคำสั่งการดำเนินการมีปัญหาถ้าใช้เป็นระบบคอมพิวเตอร์ แนวทางการแก้ไข ถ้าเป็นภาคเอกชนจะแก้ไขได้ง่ายกว่าภาครัฐบาล โดยการที่ผู้บริหารระดับสูงออกมาเป็นกฏระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบัติงาน ส่วนภาครัฐนั้นจะต้องตั้งเป็น พรบ. ขององค์กรนั้น ๆ ให้มีผลบังคับใช้ ดังเช่นที่กระทรวงการคลังได้ดำเนินการ นอกจากนี้เป็นเรื่องของผู้บริหารประเทศจะต้องรีบดำเนินการในการออกกฏหมายลายเซ็นต์อิเล็กทรอนิกส์
3. การไม่ยอมรับในระบบ ทั้งองค์กรภาคราชการและเอกชนเมื่อมีการนำเอาระบบ Workflow มาใช้นั้น อาจจะมีผู้ที่ไม่ยอมรับในระบบ เพราะเหมือนกับเป็นการตรวจสอบการทำงานของตนเอง แนวทางในการแก้ไข องค์กรจะต้องมีการประชาสัมพันธ์ และสร้างความเข้าใจถึงการนำเอาระบบ Workflow และประโยชน์ที่บุคลากรในองค์กรจะได้รับ เมื่อนำระบบนี้เข้า
3. การไม่ยอมรับในระบบ ทั้งองค์กรภาคราชการและเอกชนเมื่อมีการนำเอาระบบ Workflow มาใช้นั้น อาจจะมีผู้ที่ไม่ยอมรับในระบบ เพราะเหมือนกับเป็นการตรวจสอบการทำงานของตนเอง แนวทางในการแก้ไข องค์กรจะต้องมีการประชาสัมพันธ์ และสร้างความเข้าใจถึงการนำเอาระบบ Workflow และประโยชน์ที่บุคลากรในองค์กรจะได้รับ เมื่อนำระบบนี้เข้า
วันอังคารที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ครั้งที่ 4
ปัญหาการใช้งาน ระบบ Workflow และแนวทางการแก้ไขการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้งานในเรื่องของ Workflow นั้น ส่วนมากองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชนจะประสบปัญหาที่คล้าย ๆ กันกล่าวคือ1. ความไม่กระจ่าง ๆ ชัดในการดำเนินการ บางหน่วยงานนั้นจะมีปัญหาในเรื่องของอำนาจและหน้าที่ในการรับผิดชอบ จึงทำให้เกิดความสับสนในการดำเนินการ แนวทางในการแก้ไข ทางองค์จะต้องมีการแบ่งหน้าที่ต่าง ๆ ในการทำงานตั้งแต่ระดับปฏิบัติการจนถึงผู้บริหาร และจะต้องไม่มีการก้าวก่ายในหน้าที่ของคนอื่น ๆ (ยังมีต่อนะครับ)
วันอาทิตย์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ครั้งที่ 3
การนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้ใน Workflowในการทำงานปกติในองค์กรนั้นปัญหาที่พบกันบ่อยก็คือ ไม่ทราบว่างาน ที่เข้าสู่กระบวนการตอนนี้ดำเนินการไปถึงไหน ติดอยู่ที่ไหน ทำไมเกิดความล่าช้า ปัจจุบันการใช้งานคอมพิวเตอร์ นั้นไม่ได้ใช้แบบ Standalone อีกต่อไป จะเป็นการทำงานแบบเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายทั้งในและนอกองค์กร และได้มีการนำเอาระบบ E-mail มาใช้ในองค์กร ทำให้เกิดแนวความคิดที่จะนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ เพื่อทำให้ระบบการติดตามการทำงานต่าง ๆ สามารถทำงานได้ง่ายขึ้น ตรงจุดนี้จึงได้มีการนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้งานเพื่ออำนวยความสะดวกและรวดเร็วในการทำกระบวนการบางอย่าง และนอกจากนี้ยังจะสามารถที่จะติดตามได้อีกว่า ณ.ปัจจุบัน งานนั้นไปถึงกระบวนการไหน
วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2552
ครั้งที่ 2
ส่วนประกอบของ Workflowกระบวนการการทำงานของ Workflow จะประกอบไปด้วย แนวทาง กฎ ระเบีบบ ข้อบังคับในการทำงาน กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกระบวนการทำงาน โดยจะมีลำดับในการดำเนินการตามการบริหารงานขององค์กร เช่น การลาในองค์กร ๆ หนึ่ง อาจจะมีแนวทางการปฏิบัติ ดังนี้1. พนักงานต้องเขียนใบลา2. ส่งต่อขออนุมัติผู้บังคับบัญชาหน่วยงาน3. ผู้บังคับบัญชาส่งให้ผู้บริหารที่สูงกว่าอนุมัติ4. ใบลา ส่งต่อไปยังฝ่ายบุคคลในกรณีที่อนุมัติเรียบร้อยขั้นตอนต่าง ๆ ที่ยกขึ้นมากล่าวจะเป็น Workflow ใช้ในกระบวนการลา ซึ่งจะทำให้เห็นภาพมากขึ้นในเรื่องของ Workflow ซึ่งกระบวนการลาที่ได้กล่าวนั้นอาจจะถูกออกมาเป็นกฏ ระเบียบขององค์กร เมื่อพนักงานต้องการจะลา ก็คือกิจกรรมหนึ่ง
วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
ครั้งที่ 1
Workflow คือองค์ประกอบทางธุรกิจ (Business Component) ซึ่งจะสามารถอธิบายถึงแนวความคิดและวิธีการปฏิบัติงานในองค์กร หรืออธิบายง่าย ๆ คือกระบวนการทำงานต่าง ๆ ในการดำเนินงานในองค์กรให้ประสพผลสำเร็จตามความต้องการ โดยธรรมชาติของหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กรจะกระบวนการทำงานและความต้องการไม่เหมือนกัน ตัว Workflow จะเป็นตัวช่วยสร้าง รูปแบบของกระบวนการที่บ่งบอกถึงขั้นตอน กฎ ความเกี่ยวข้อง ขอบเขตการรับผิดชอบของผู้กระทำ ในกระบวนการการทำงานในหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร จะมีกระบวนการการทำงานของตนเอง และอาจจะมีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ๆ ในองค์กร ซึ่งแล้วแต่การแบ่งองค์กรและการทำงาน
วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
1. นาย ศักดิ์ชัย ถนอมใจ 492-04-1030
2. นาย เจตวัฒน์ เชาว์นิยม 502-04-5031
3. นาย ภคภพ มหาอำนาจ 503-04-5031
4. นาย วุฒิชัย ดียิ่ง 503-04-5044
5. น.ส. กาญจนธัช คงนวม 511-04-8034
6. นาย กฤติน ตันทะสุวรรณ 512-04-8001
7. นาย อุทัย ฉิมหิรัญ 512-04-8002
8. นาย ภีมพงษ์ จิลลานนท์ 512-04-8003
9. น.ส. ศศิชา บำรุงกิจ 512-04-8013
10. นาย ตริสนันท์ ชาติสุขศิริเดช 512-04-8012
11. น.ส. นันท์นภัส ศตพรภัทรนันท์ 512-04-8014
12. น.ส. ผกาภรณ์ ใต้หล้าสถาพร 512-04-8016
13. นาย รัชต์ธร ทรงกิจชัยสิริ 512-04-8018
14. นาย พศิน อึ้งอร่าม 512-04-8021
15. น.ส. กาญจิรนันท์ คลองข่อย 512-04-8025
16. นาย รชต ไชยแขวง 512-04-8027
17. นาย รุ่งเดช ทองกำเนิด 512-04-8038
18. นาง ดาริน บุญมาศิริ 512-04-8039
19. สิบตรีหญิง กษิรา กัณฑ์วิเศษ 512-04-8041
20. นาย ทรงพล ลพนานุสรณ์ 512-04-8043
21. น.ส. ธนามาศ ตฤณาภัทร 513-04-8004
23. น.ส. อลิณณกรณ์ วุฒิศาสตร์ 513-04-8020
2. นาย เจตวัฒน์ เชาว์นิยม 502-04-5031
3. นาย ภคภพ มหาอำนาจ 503-04-5031
4. นาย วุฒิชัย ดียิ่ง 503-04-5044
5. น.ส. กาญจนธัช คงนวม 511-04-8034
6. นาย กฤติน ตันทะสุวรรณ 512-04-8001
7. นาย อุทัย ฉิมหิรัญ 512-04-8002
8. นาย ภีมพงษ์ จิลลานนท์ 512-04-8003
9. น.ส. ศศิชา บำรุงกิจ 512-04-8013
10. นาย ตริสนันท์ ชาติสุขศิริเดช 512-04-8012
11. น.ส. นันท์นภัส ศตพรภัทรนันท์ 512-04-8014
12. น.ส. ผกาภรณ์ ใต้หล้าสถาพร 512-04-8016
13. นาย รัชต์ธร ทรงกิจชัยสิริ 512-04-8018
14. นาย พศิน อึ้งอร่าม 512-04-8021
15. น.ส. กาญจิรนันท์ คลองข่อย 512-04-8025
16. นาย รชต ไชยแขวง 512-04-8027
17. นาย รุ่งเดช ทองกำเนิด 512-04-8038
18. นาง ดาริน บุญมาศิริ 512-04-8039
19. สิบตรีหญิง กษิรา กัณฑ์วิเศษ 512-04-8041
20. นาย ทรงพล ลพนานุสรณ์ 512-04-8043
21. น.ส. ธนามาศ ตฤณาภัทร 513-04-8004
23. น.ส. อลิณณกรณ์ วุฒิศาสตร์ 513-04-8020
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)